สมองมีการพัฒนาการโดยเกิดขึ้นจากการเพิ่มขนาดและจำนวนของแขนงประสาท คื เดนไดรด์(dendrites) ในเนื้อสมองส่วนคอร์เทกซ์ (cortex) และการที่ระบบประสานข้อมูลเริ่มพัฒนาขึ้น คือมีการ
สร้างไมยาลิน ( myelination) ในเนื้อสมองส่วนใต้เปลือกสมอง และโดยเฉพาะในส่วน corpous callosum ทำให้มีการทำงานที่ประสานกันมากขึ้น ดีขึ้น ในระบบรับความรู้สึก ( sensory) กับระบบควบคุมการเคลื่อนไหว ( mortor) ทำให้สมองพร้อมรับการสำรวจทำความรู้จักโลก สมองจดจำและสร้างความสัมพันธ์กับระบบภาษา สมองพัฒนาความคิดวิเคราะห์เกี่ยวกับกระบวนแบบ(pattern) ง่ายๆ ซึ่งเป็นการพัฒนาต่อเนื่องมาจากวัยก่อนอนุบาล และเป็นพื้นฐานของการพัฒนาความคิดวิเคราะห์ที่ซับซ้อน ถึงแม้
จะเป็นเรื่องทางวิชาการแต่ในฐานะที่เป็นครูจำเป็นต้องเข้าใจความรู้เรื่องสมองดังกล่าวเพื่อได้นำความรู้เบื้องต้นด้านสมองมาใช้ในการจัดประสบการณ์ให้แก่เด็กๆ ครูหรือผู้ใหญ่ต้องคอยช่วยเหลือ ดูแล
สนับสนุน เพราะเด็กมีข้อจำกัดหลายประการ ความซับซ้อนต่างๆ เด็กยังไม่เข้าใจ เป็นหน้าที่ของผู้ใหญ่ซึ่งต้องคอยทำความซับซ้อนให้เด็กได้เกิดการเรียนรู้ คือการพัฒนาสมองของเด็กนั่นเอง
วันพุธที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2552
วันจันทร์ที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2552
ปัจจัยที่มีผลต่อสติปัญญาของเด็กปฐมวัย
เด็กแต่ละคนมีสติปัญญาที่แตกต่างกัน ถ้าครูได้รู้และมีความเข้าใจในสิ่งที่เป็นพื้นฐานที่สำคัญแล้วก็จะเป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการสอนหรือการจัดประสบการณ์ให้กับเด็กปฐมวัย เหตุที่เด็กแต่ละคนมีสติปัญญาที่แตกต่างกันนั้นมีเหตุที่ทำให้เกิดความแตกต่างกันคือ
พันธุกรรม มีผลต่อสติปัญญา ร้อยละ 30-60
สิ่งแวดล้อม ที่พอจะกล่าวได้มีดังนี้
การอบรมเลี้ยงดู
อาหาร
อาหารสมอง
ประสบการณ์ต่างๆ
การฟังนิทาน
การช่วยทำงาน
การดูแลช่วยเหลือตนเองตามวัย
การเล่นเกมสร้างสรรค์ต่างๆ
การได้รับคำยกย่องชมเชย
การไม่ถูกดุด่าเด็กทุกวัน
การได้เข้าสัมผัสกับสังคมในชีวิตประจำวัน
การออกกำลังกาย
การคิดในทางบวก
การมองโลกในแง่ดี
การมีสมาธิ
การช่วยเหลือผู้อื่น
การมีอารมณ์ดี
ทั้งหมดที่กล่าวคงจะทำให้ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงดูเด็กได้ใช้เป็นแนวทางในการอบรมเด็กในความรับผิดชอบให้มีพัฒนาการด้านสติปัญญาที่มีคุณภาพ
พันธุกรรม มีผลต่อสติปัญญา ร้อยละ 30-60
สิ่งแวดล้อม ที่พอจะกล่าวได้มีดังนี้
การอบรมเลี้ยงดู
อาหาร
อาหารสมอง
ประสบการณ์ต่างๆ
การฟังนิทาน
การช่วยทำงาน
การดูแลช่วยเหลือตนเองตามวัย
การเล่นเกมสร้างสรรค์ต่างๆ
การได้รับคำยกย่องชมเชย
การไม่ถูกดุด่าเด็กทุกวัน
การได้เข้าสัมผัสกับสังคมในชีวิตประจำวัน
การออกกำลังกาย
การคิดในทางบวก
การมองโลกในแง่ดี
การมีสมาธิ
การช่วยเหลือผู้อื่น
การมีอารมณ์ดี
ทั้งหมดที่กล่าวคงจะทำให้ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงดูเด็กได้ใช้เป็นแนวทางในการอบรมเด็กในความรับผิดชอบให้มีพัฒนาการด้านสติปัญญาที่มีคุณภาพ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)